ขออนุญาตอาจารย์รังสรรค์ ต่อสุวรรณเพื่อเผยเเพร่ รูปภาพเเละข้อความของอาจารย์ทั้งหมดโดยไม่
ได้ดัดเเปลงเพิื่อเป็นความรู้คนรุ่นหลังต่อไปทั้งหมดเอามาจาก facebook ของอาจารย์รังสรรค์ต่อสุวรรณ
ที่มารูปภาพเเละข้อความทั้งหมดhttps://www.facebook.com/495060750527304/photos/pb.495060750527304.-2207520000.1457680196./697472396952804/?type=3&theater
พระสมเด็จวัดระฆังพิมพ์ใหญ่ พิมพ์ D
พระองค์นี้เป็นพระที่ปรากฎข ึ้นมาใหม่ ถือเป็นพระที่สะอาดบริสุทธิ ์ ไม่ได้ผ่านการใช้ หรือไม่ได้จุ่มรัก หรือแช่รักน้ำเกลี้ยงแต่ประ การใด ตำหนิศิลปะแม่พิมพ์จะมีความ ชัดเจนมากดังต่อไปนี้
รูปพระสมเด็จวัดระฆังพิมพ์ใหญ่ของอาจารย์รังสรรค์ ต่อสุวรรณ 1) รอยรูพรุนของเข็ม ซึ่งปรากฎทั่วๆไปทั้งองค์ เป็นรูพรุนซึ่งเกิดจากผงธูป ที่ผสมอยู่ในเนื้อมวลสารของ พระสมเด็จฯทุกองค์ ซึ่งถือเป็นเอกลักษณ์เด่นขอ งพระสมเด็จวัดระฆังฯ
2) รอยหนอนด้น เป็นเอกลักษณ์อีกสิ่งหนึ่งของพระสมเด็จ วัดระฆังฯทุกพิมพ์ ซึ่งเกิดจากส่วนผสมของดอกไม ้ที่ใช้บูชาพระ อาหาร ตลอดจนพืชผักที่ท่านเจ้าประ คุณสมเด็จฯได้คายออกมาเพื่อ ตัดกิเลส เมื่อนำมาบดแห้งผสมในมวลสาร อายุร้อยกว่าปีมวลสารเหล่าน ั้นจะสลายหายไป เหลือแต่ร่อยรอยเป็นเส้นธรร มชาติ เราเรียกกันว่ารอยหนอนด้น
3) เม็ดพระธาตุ เป็นปูนขาวเก่า ซึ่งกระเทาะจากปูนหุ้มพระปร ะธาน ซึ่งต้องทำการซ่อมแซมเมื่ออ ายุได้ 40-50 ปี เนื่องจากปูนหมดอายุ เพื่อทำการฉาบปูนพระประธานใ หม่ ปูนเก่าที่กระเทาะออกมานั้น ถือเป็นปูนที่ผู้คนบูชามายา วนาน ท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯ จึงได้นำมาทุบป่นรวมกับมวลส ารปูนใหม่ เพื่อมาสร้างพระสมเด็จวัดระ ฆังฯ และเมื่ออายุของพระสมเด็จวั ดระฆังฯได้ร้อยกว่าปี พระมีการหดตัวลง ส่วนผสมของปูนใหม่และปูนเก่ าจะปรากฎแยกตัวมีรอยปริแตกแ ยกกันระหว่างปูนเก่าและปูนใ หม่อย่างเป็นธรรมชาติ
4) ซุ้มครอบแก้ว จะเป็นเส้นเล็กที่สุดใน 4 พิมพ์ ถ้าองค์ไหนกดแม่พิมพ์ได้ยิ่ งชัด ซุ้มครอบแก้วจะยิ่งแหลมคมมา กขึ้น สังเกตซุ้มครอบแก้วทางหัวโค ้งด้านขวาขององค์พระประธานจ ะเอียงเข้าไปด้านในมากกว่าซ ุ้มครอบแก้วทางซ้ายมือของพร ะประธาน
5) รอยตั้งฉากของซุ้มครอบแก้ว เนื่องจากการหดตัวเป็นเหตุใ ห้องค์พระหดตัวลง ซุ้มครอบแก้วและลำพระองค์จะ หดตัวจนกระทั่งตั้งฉาก โดยเฉพาะบริเวณซุ้มครอบแก้ว ด้านในขององค์พระ จะตั้งฉากมากจนกระทั่งดูเหม ือนชอนเข้าสู่ใต้ซุ้มครอบแก ้ว อันเนื่องมากจากพื้นนอกซุ้ม เรือนแก้วจะสูงกว่าพื้นในซุ ้มเรือนแก้วเล้กน้อย เมื่อพระหดตัวลง แรงดันทั้งพื้นภายนอกและพื้ นภายในซุ้มเรือนแก้วจะดันกั นจนครอบแก้วตั้งฉากและม้วนเ ข้าไปใต้ซุ้ม ประเด็นนี้เป็นปรากฎการณ์ทา งวิทยาศาสตร์ของการหดตัวตาม อายุขององค์พระ ซึ่งไม่สามารถทำปลอมแปลงกัน ได้เลย
6) กรอบกระจก คือกรอบแม่พิมพ์ขององค์พระส ่วนบนจะโค้งไม่ตั้งฉาก ถ้าตัดขอบขององค์พระห่างจาก กรอบแม่พิมพ์มาก เส้นสายของกรอบกระจกจะคมชัด มาก แต่องค์ที่ตัดชิดขอบแม่พิมพ ์ ก็จะเห็นกรอบกระจกแต่ไม่เด่ นชัดเท่า
7) กรอบกระจกซ้ายขององค์พระประ ธาน เป็นเอกลักษณ์ของพระสมเด็จว ัดระฆังโฆษิตาราม พิมพ์ใหญ่ทั้ง 4 พิมพ์ กรอบกระจกหรือครอบแม่พิมพ์ด ้านซ้ายมือขององค์พระ จะเห็นเส้นขอบที่ลากจากด้าน บนลงมาจรดที่ซุ้มเรือนแก้ว ประมาณที่ข้อศอกขององค์พระป ระธาน
8) พระเกตุทะลุซุ้ม พระสมเด็จวัดระฆังโฆษิตาราม พิมพ์ใหญ่ ทุกพิมพ์ พระเกตุจะจรดซุ้มครอบแก้ว เฉพาะพระสมเด็จวัดระฆังฯพิม พ์ใหญ่ พิมพ์ 4 เท่านั้น ที่พระเกตุจะแหลมและทะลุออก นอกซุ้มครอบแก้วไปจรดกรอบกร ะจก
9) เศียรขององค์พระ สำหรับเศียรขององค์พระสมเด็ จวัดระฆังฯ พิมพ์ใหญ่ พิมพ์ 4 จะมีความผอมเรียวกว่าเศียรข องพระสมเด็จวัดระฆังฯพิมพ์ใ หญ่ พิมพ์อื่น ถ้ากดแม่พิมพ์ลึก ๆ จะเห็นเป็นสันจมูกลงมาจรดที ่คางขององค์พระ
10) หูของพระสมเด็จวัดระฆังโฆษิ ตาราม พิมพ์ใหญ่ โดยหูทั้งสองข้างจะติดรำไรเ ท่านั้น ไม่เด่นชัดเป็นสัน องค์ที่ติดไม่เต็ม จะต้องตะแคงส่องกล้องดู ซึ่งจะเห็นว่าหูที่ติดเป็นร ำไรเท่านั้น ถ้าเป็นพระถอดพิมพ์ก็จะไม่ส ามารถทำให้ติดหูรำไรนี้ได้เ พราะอยู่ตื้นมาก แต่หากเป้นพระแต่งพิมพ์ก็จะ เห็นหูชัดเป็นลำไม่ติดแบบรำ ไร
11) แขนของลำพระองค์ จะเล็กกว่าพระสมเด็จวัดระฆั งโฆษิตารามพิมพ์ใหญ่ พิมพ์อื่น และหดตัวจนแขนทั้งสองข้างตั ้งฉากกัน
12) รักแร้ ขององค์พระด้านซ้ายจะมีความ ลึกและอยู่สูงกว่ารักแร้ด้า นขวา ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของพระสมเ ด็จวัดระฆังโฆษิตาราม พิมพ์ใหญ่ ทั้ง 4 พิมพ์
13) สังฆาฏิ ที่อกขององค์พระด้านซ้ายมือ จะสูงกว่าอกด้านขวามือขององ ค์พระประธาน เป็นลักษณะของผ้าสังฆาฏิพาด จากไหล่ลงมาแนบกับลำพระองค์ บริเวณเอวขององค์พระ ระหว่างผ้าสังฆาฏิกับองค์พร ะจะเกิดร่องตื้นๆเกิดขึ้น ถ้าพิจารณาดูแบบตะแคงก็จะเห ็นได้ชัดเจน หรือถ้าเป็นพระจุ่มรักน้ำเก ลี้ยงก็จะเห็นครอบรักน้ำเกล ี้ยงเป็นทาง
14) เส้นจีวร ที่แขนด้านซ้ายมือขององค์พร ะจะมีเส้นจีวรพาดจากแขนลงมา ที่หน้าตักซ้ายขององค์พระ
15) เข่าด้านซ้ายขององค์พระ จะสูงกว่าเข่าด้านขวาและจะส ูงกว่าฐานชั้นที่ 3 เล็กน้อย
16) เข่าด้านขวามือขององค์พระ จะอยู่ต่ำกว่าเข่าด้านซ้ายข ององค์พระและอยู่ต่ำกว่าฐาน ชั้นที่ 3
17) ฝ่าเท้าและหน้าแข้ง ด้านซ้ายขององค์พระจะสูงเป็ นสัน และมีฝ่าเท้าแนบอยู่หน้าตัก ขวามือขององค์พระ
18) ฐานชั้นที่ 3 เป็นสันสูงคมชัด
19) ฐานชั้นที่ 2 เป็นฐานโต๊ะ มีขาสิงห์ทั้งสองด้าน
20) ฐานชั้นที่ 1 เป็นฐานเขียงหนาและกลางฐานจ ะปรากฎเป็นร่องลึกเล็กน้อย
21) เส้นโยงปลายฐานเขียง ด้านขวามือขององค์พระประธาน จะมีเส้นโยงมาที่ซุ้มครอบแก ้วล่าง ซึ่งเกิดจากแม่พิมพ์ของพระส มเด็จวัดระฆังฯ พิมพ์ใหญ่ ทุกพิมพ์
ด้านหลังพระสมเด็จวัดระฆังพิมพ์ใหญ่ พิมพ์ D
22) หลังพิมพ์กาบหมาก เหี่ยวย่นคล้ายๆกับผิวกาบหม าก ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่พิมพ์ด้า นหลังของพระสมเด็จวัดระฆังฯ
23) ขอบรอยปูไต่ เป็นขอบตัดทั้งสี่ด้าน ซึ่งตัดด้วยไม้ตอก และลากตัดจากขอบด้านหนึ่งไป ทางอีกด้านหนึ่ง รอยตัดขอบจะเกิดเป็นรอยครูด ทำให้ขอบของพระปริแตกเป็นทา งเดียวกัน เมื่อพระหดตัว รอยปริแตกที่ขอบนอกจะกว้างก ว่าด้านในขององค์พระ ดูคล้ายๆกับรอยปูไต่ ซึ่งถือเป็นตำหนิอันสำคัญขอ งพระสมเด็จวัดระฆังโฆษิตารา มทุกองค์ ทุกพิมพ์ครับ
ที่มา https://www.facebook.com/%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B9%8C-%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93Rangsan-Torsuwan-fanpage-495060750527304/?fref=photo
ได้ดัดเเปลงเพิื่อเป็นความรู้คนรุ่นหลังต่อไปทั้งหมดเอามาจาก facebook ของอาจารย์รังสรรค์ต่อสุวรรณ
ที่มารูปภาพเเละข้อความทั้งหมดhttps://www.facebook.com/495060750527304/photos/pb.495060750527304.-2207520000.1457680196./697472396952804/?type=3&theater
พระสมเด็จวัดระฆังพิมพ์ใหญ่
พระองค์นี้เป็นพระที่ปรากฎข
รูปพระสมเด็จวัดระฆังพิมพ์ใหญ่ของอาจารย์รังสรรค์ ต่อสุวรรณ 1) รอยรูพรุนของเข็ม ซึ่งปรากฎทั่วๆไปทั้งองค์ เป็นรูพรุนซึ่งเกิดจากผงธูป
2) รอยหนอนด้น เป็นเอกลักษณ์อีกสิ่งหนึ่งของพระสมเด็จ
3) เม็ดพระธาตุ เป็นปูนขาวเก่า ซึ่งกระเทาะจากปูนหุ้มพระปร
4) ซุ้มครอบแก้ว จะเป็นเส้นเล็กที่สุดใน 4 พิมพ์ ถ้าองค์ไหนกดแม่พิมพ์ได้ยิ่
5) รอยตั้งฉากของซุ้มครอบแก้ว เนื่องจากการหดตัวเป็นเหตุใ
6) กรอบกระจก คือกรอบแม่พิมพ์ขององค์พระส
7) กรอบกระจกซ้ายขององค์พระประ
8) พระเกตุทะลุซุ้ม พระสมเด็จวัดระฆังโฆษิตาราม
9) เศียรขององค์พระ สำหรับเศียรขององค์พระสมเด็
10) หูของพระสมเด็จวัดระฆังโฆษิ
11) แขนของลำพระองค์ จะเล็กกว่าพระสมเด็จวัดระฆั
12) รักแร้ ขององค์พระด้านซ้ายจะมีความ
13) สังฆาฏิ ที่อกขององค์พระด้านซ้ายมือ
14) เส้นจีวร ที่แขนด้านซ้ายมือขององค์พร
15) เข่าด้านซ้ายขององค์พระ จะสูงกว่าเข่าด้านขวาและจะส
16) เข่าด้านขวามือขององค์พระ จะอยู่ต่ำกว่าเข่าด้านซ้ายข
17) ฝ่าเท้าและหน้าแข้ง ด้านซ้ายขององค์พระจะสูงเป็
18) ฐานชั้นที่ 3 เป็นสันสูงคมชัด
19) ฐานชั้นที่ 2 เป็นฐานโต๊ะ มีขาสิงห์ทั้งสองด้าน
20) ฐานชั้นที่ 1 เป็นฐานเขียงหนาและกลางฐานจ
21) เส้นโยงปลายฐานเขียง ด้านขวามือขององค์พระประธาน
ด้านหลังพระสมเด็จวัดระฆังพิมพ์ใหญ่พิมพ์D
ด้านหลังพระสมเด็จวัดระฆังพิมพ์ใหญ่
22) หลังพิมพ์กาบหมาก เหี่ยวย่นคล้ายๆกับผิวกาบหม
23) ขอบรอยปูไต่ เป็นขอบตัดทั้งสี่ด้าน ซึ่งตัดด้วยไม้ตอก และลากตัดจากขอบด้านหนึ่งไป
ที่มา https://www.facebook.com/%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B9%8C-%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93Rangsan-Torsuwan-fanpage-495060750527304/?fref=photo
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
กรุณาใช้คำสุภาพเเละไม่ใช้คำที่ก่อให้เกิดความเสื่อมเสียเเก่ส่วนรวมเเละบุคคลอื่นขอบคุณครับ