การศึกษาเเละพิจารณาให้ถูกต้องพระสมเด็จวัดระฆังตามมาตรฐาน สากลนิยม
การศึกษาเเละพิจารณาพระสมเด็จวัดระฆังรวมทั้งพระเครื่องทั่วไปจำเป็นอย่างยิ่งผู้ที่ศึกษาควรจะได้เรียนรู้เเนวทางที่ถูกต้องตามมาตรฐานที่สังคมวงการยอมรับ เเนวทางที่ถูกต้องในการศึกษาเเละพิจารณาพระสมเด็จวัดระฆังก็คือ ศึกษาให้เข้าใจว่าพิมพ์ทรง เนื้อหาเเละธรรมชาติความเก่าตามอายุของพระสมเด็จวัดระฆัง ที่สังคมวงการยอมรับว่าเป็นพระเเท้มาตรฐานเป็นอย่างไร
ด้านหลังสมเด็จวัดระฆังพิมพ์เกศบัวตูมที่วงการยอมรับ
1.ต้องดูพิมพ์ของพระ
2.ต้องดูที่เนื้อหามวลสารของพระ
3.ต้องดูที่ความธรรมชาติความเก่าของพระ
ในเรื่องการดูพิมพ์ของพระนั้นตามหลักเเห่งความเป็นจริงเเล้ว ไม่น่าจะมีปัญหายุ่งยากซับซ้อนสักเท่าไรเพียงอาศัยความเป็นคนช่างสังเกตุ จดจำ เเละมีความเเม่นยำในเชิงเปรียบเทียบเเบบพิมพ์ของพระจากของพระเเท้ขององค์จริงหรือจากภาพพระเเท้ที่ออกโดยผู้ชำนาญที่วงการยอมรับทั่วไป อีกทั้งมีความเข้าใจในเรื่องขององค์ประกอบทางศิลปะ รู้จักเชิงชั้นงานช่าง ก็น่าจะพอเอาตัวรอดได้ ความยุ่งยากในการดูพระสมเด็จวัดระฆังซึ่งมีอายุการสร้างมายาวนาน 100 ปีขึ้นไป จึงน่าจะอยู่ที่ปัญหาการพิจารณาอายุความเก่าเเละธรรมชาติทั้งเนื้อหาเเละมวลสารของพระมากกว่า ผู้ชำนาญการพิจารณาพระสมเด็จวัดระฆังระดับปรจารย์รุ่นเก่าๆจึงให้ความสำคัญเเละเน้นเป็นพิเศษว่า การดูพระสมเด็จวัดระฆังให้เป็นเเละสามารถตัดสินเเท้ปลอมได้นั้นควรจะต้องมีความคุ้นเคยเเละเฉียบขาดในเรื่องต่อไปนี้ คือ
1.ดูความเก่าของเนื้อหาพระเป็น
2.ดูความเปลียนเเปลงตามธรรมชาติที่ผิวพระเป็น
นี่เป็นองค์ความรู้ที่คนในยุคเก่านิยมยึดถือกันมา เคยมีคำกล่าวว่า พระเก๊หรือพระปลอม พระใหม่ๆส่วนมากเเบบพิมพ์ดี ตำหนิดี เเต่ความเก่าเเละความธรรมชาติของเนื้อ่หา มวลสาร พระที่ผ่านกาลเวลามาเเล้วยังทำไม่ได้เด็ดขาดมากนัก ในขณะเดียวกันพระเก๊หรือพระปลอมเก่าๆเเบบพิมพ์ไม่ดี ธรรมชาติความเก่าอาจะมีอยู่บ้าง เเต่ก็พอจะพิจารณาเเยกเเยะได้ ด้วยหลักคิดเเบบนี้ลองยกตัวอย่างในกรณี นำคนวัยกลางคนจับมาเเต่งหน้าทำผมให้เเก่ชรา มองไกลๆดูเหมือนเป็นคนเเก่ เเต่พอเข้าไปใกล้ๆก็รู้โดยทันทีว่าไม่ไช่ เพราะธรรมชาติอีกหลายๆอย่างไม่เหมือนคนเเก่ที่เเท้จริงนั่นเอง
เรื่องความธรรมชาติ ความเก่า ถ้าพระองค์ใดขาดสิ่งนี้ ต่อให้มีการเล่าประวัติว่าพระองค์นี้ได้มาจากปู่ย่าตายาย ทวด หรือจากผู้มีศักดิ์ ยศ สูงปานใด ก็ไร้ความหมาย ทั้งนี้ตามเหตุปัจจัยโดยทั่วไปธรรมชาติความเก่าที่จะต้องปรากฎในองค์พระสมเด็จวัดระฆังจะต้องเป็นดังนี้
1.เนื้อของพระต้องไม่ตึงเรียบไปทั้งองค์ไม่ว่าจะด้านหน้าเเละด้านหลังขององค์พระ
2.ที่พื้นผิวของพระจะมีรูยับๆย่นๆเเละรูพรุนๆลึกลงไปถึงเนื้อพระทุกองค์
3.ด้านขอบข้างขององค์พระนั้นจะมีรอยปริเเตก เเยก ให้เห็น ไม่เรียบเนียน เเบบธรรมชาติ ไม่ไช่เเตกเเยก เเบบเลียนเเบบเเละทำให้เกิดผิดจากธรรมชาติ
อนึ่งในข้อพิจารณาดังกล่าวยังมีปัจจัยสำคัญที่ต้องเเนะนำเพิ่มเติมคือ หากเป็นรอยไม่เรียบไม่ตึงเเบบธรรมชาติกับรอยที่ไม่เรียบไม่ตึงจากการทำด้วยน้ำมือมนุษย์เป็นสิ่งที่ต้องพยายามศึกษาจดจำเเละสังเกตุให้ดีเพราะมีความเเตกต่างกันมาก ร่องรอยปริยุบเเยกยับย่น ไม่ว่าจะอยู่ที่พื้นผิวพระ ด้านหน้า หรือด้านหลังก็ตามล้วนเเต่จะต้องเกิดจากเป็นรอยอันเกิดมาจากข้างในด้วยเหตุผลคือ มวลสารทีเป็นอินทรีย์วัตถุยับตัวเหมือนยางไม้หมดความยืดหยุ่นก็จะหดตัวลงเล็กน้อยที่หดตัวพร้อมๆกันหลายจุดทั่วทั้งองค์พระจึงทำให้เกิดรอยปริยุบเเยกยับย่นลงไป เเต่หากเป็นธรรมชาติที่เกิดจากน้ำมือมนุษย์จะเป็นไปในลักษณะการเเกล้งทำจากข้างนอกไปสู่ข้างใน ซึ่งโดยจุดนี้เราจะสามารถมองออกได้คือลักษณะของการบานการยุบตัวนั้นบริเวณที่ผิวขององค์พระจะมีขนาดใหญ่กว่าร่องรอยของการยุบที่มองเห็น คิดง่ายๆเพื่อให้เห็นภาพ หากเราเอาไม้จิ้มลงไปในก้อนดินน้ำมันเเล้วเอาออก จะเห็นได้ว่าเมื่อมองลงไปในรูที่จิ้มเเล้วจะเห็นทันทีว่ารูข้างในนั้นเล็กมากๆเเต่รูด้านผิวบนๆของดินน้ำมันจะใหญ่ นี่เปรียบได้เหมือนกับการเเกล้งทำร่องรอยปริเเตกยับย่นจากข้างนอกไปสู่ข้างใน คือเเกล้งทำให้เก่านั่นเอง นี้ไม่รวมการเเกล้งให้เก่าทางวิทยาศาสตร์กับกับเนื้อพระเก่ามาตกเเต่ง เเกะที่ทำให้เหมือนพระสมเด็จวัดระฆัง เเละเเละเอาของเกจิรุ่นหลังจากสมเด็จโตมรณภาพเเล้วกับของสมเด็จวัดบางขุนพรหมมาโยกย้ายไปเป็นสมเด็จวัดระฆัง
ทั้งนี้ทั้งนั้นถ้าเป็นธรรมชาติเเท้ๆจะเป็นการยับย่นยุบจากข้างในออกมาสู่ข้างนอกโดยรูข้างในจะใหญ่กว่าที่พื่นผิวด้านนอกนั่นเอง สมมุติให้เห็นภาพได้ว่าเนื้อดินน้ำมันที่ผิวด้านบนมีรูของการยับย่นมีขนาดที่เล็กเเต่เมื่อเอากล้องส่องลงไปจะเห็นได้ว่า ในรูของดินน้ำมันนั้นจะมีขนาดใหญ่เพราะการยับย่นเริ่มจากข้างในออกมาสู่ข้างนอก รวมถึงผงวิเศษ 5 อย่าง ที่ท่านสร้างขึ้นมากว่าท่านจะมาทำเเต่ละครั้งจะได้ปริมาณน้อยมากเเต่ละครั้งถ้ามีในองค์ใดก็ถือว่าพิจารณาง่ายในองค์นั้นๆเพราะในผงวิเศษก็มีความธรรมชาติที่เกิดขึ้นอย่างธรรมชาตินั้นเอง ทั้งหมดนี่คือหนึ่งในวิธีการพิจารณาพระสมเด็จวัดระฆังที่นักนิยมพระเครื่องผู้ชำนาญการระดับปรมาจารย์ได้เเนะนำไว้
การศึกษาเเละพิจารณาพระสมเด็จวัดระฆังรวมทั้งพระเครื่องทั่วไปจำเป็นอย่างยิ่งผู้ที่ศึกษาควรจะได้เรียนรู้เเนวทางที่ถูกต้องตามมาตรฐานที่สังคมวงการยอมรับ เเนวทางที่ถูกต้องในการศึกษาเเละพิจารณาพระสมเด็จวัดระฆังก็คือ ศึกษาให้เข้าใจว่าพิมพ์ทรง เนื้อหาเเละธรรมชาติความเก่าตามอายุของพระสมเด็จวัดระฆัง ที่สังคมวงการยอมรับว่าเป็นพระเเท้มาตรฐานเป็นอย่างไร
ปัจจุบันการศึกษาพิจารณาพระสมเด็จวัดระฆังของนักนิยมสะสมพระเครื่องต่างมีเเนวทางเเละทฤษฎี ตลอดจนเเนวคิดที่ไม่เหมือนกันตามพื้นฐานองค์ความรู้ที่ได้รับมาของเเต่ละคน บางคนให้ความสำคัญกับเเม่พิมพ์ เป็นต้นเเละในขณะที่บางคนให้ความสำคัญกับเนื้อหา มวลสารเเละความธรรมชาติความเก่าเป็นอย่างยิ่ง เเท้จริงเเล้วเทคนิคของการดูพระสมเด็จวัดระฆังควรจะให้ความสำคัญเสมอกันทุกด้านการชี้ขาดเรื่องพระเเท้หรือพระปลอมจึงจะขาดลอย หลักการที่ควรยึดถือเเละให้น้ำหนักความสำคัญไม่น้อยไปกว่ากันดังกล่าวคือ
งเปรียบเทียบเนื้อหาที่อายุต่างกันดู พระหลวงปู่ภูสมเด็จเจ็ดชั้นหูติ่งหสร้างหลังจากสมเด็จวัดระฆัง
1.ต้องดูพิมพ์ของพระ
2.ต้องดูที่เนื้อหามวลสารของพระ
3.ต้องดูที่ความธรรมชาติความเก่าของพระ
ในเรื่องการดูพิมพ์ของพระนั้นตามหลักเเห่งความเป็นจริงเเล้ว ไม่น่าจะมีปัญหายุ่งยากซับซ้อนสักเท่าไรเพียงอาศัยความเป็นคนช่างสังเกตุ จดจำ เเละมีความเเม่นยำในเชิงเปรียบเทียบเเบบพิมพ์ของพระจากของพระเเท้ขององค์จริงหรือจากภาพพระเเท้ที่ออกโดยผู้ชำนาญที่วงการยอมรับทั่วไป อีกทั้งมีความเข้าใจในเรื่องขององค์ประกอบทางศิลปะ รู้จักเชิงชั้นงานช่าง ก็น่าจะพอเอาตัวรอดได้ ความยุ่งยากในการดูพระสมเด็จวัดระฆังซึ่งมีอายุการสร้างมายาวนาน 100 ปีขึ้นไป จึงน่าจะอยู่ที่ปัญหาการพิจารณาอายุความเก่าเเละธรรมชาติทั้งเนื้อหาเเละมวลสารของพระมากกว่า ผู้ชำนาญการพิจารณาพระสมเด็จวัดระฆังระดับปรจารย์รุ่นเก่าๆจึงให้ความสำคัญเเละเน้นเป็นพิเศษว่า การดูพระสมเด็จวัดระฆังให้เป็นเเละสามารถตัดสินเเท้ปลอมได้นั้นควรจะต้องมีความคุ้นเคยเเละเฉียบขาดในเรื่องต่อไปนี้ คือ
1.ดูความเก่าของเนื้อหาพระเป็น
2.ดูความเปลียนเเปลงตามธรรมชาติที่ผิวพระเป็น
นี่เป็นองค์ความรู้ที่คนในยุคเก่านิยมยึดถือกันมา เคยมีคำกล่าวว่า พระเก๊หรือพระปลอม พระใหม่ๆส่วนมากเเบบพิมพ์ดี ตำหนิดี เเต่ความเก่าเเละความธรรมชาติของเนื้อ่หา มวลสาร พระที่ผ่านกาลเวลามาเเล้วยังทำไม่ได้เด็ดขาดมากนัก ในขณะเดียวกันพระเก๊หรือพระปลอมเก่าๆเเบบพิมพ์ไม่ดี ธรรมชาติความเก่าอาจะมีอยู่บ้าง เเต่ก็พอจะพิจารณาเเยกเเยะได้ ด้วยหลักคิดเเบบนี้ลองยกตัวอย่างในกรณี นำคนวัยกลางคนจับมาเเต่งหน้าทำผมให้เเก่ชรา มองไกลๆดูเหมือนเป็นคนเเก่ เเต่พอเข้าไปใกล้ๆก็รู้โดยทันทีว่าไม่ไช่ เพราะธรรมชาติอีกหลายๆอย่างไม่เหมือนคนเเก่ที่เเท้จริงนั่นเอง
เรื่องความธรรมชาติ ความเก่า ถ้าพระองค์ใดขาดสิ่งนี้ ต่อให้มีการเล่าประวัติว่าพระองค์นี้ได้มาจากปู่ย่าตายาย ทวด หรือจากผู้มีศักดิ์ ยศ สูงปานใด ก็ไร้ความหมาย ทั้งนี้ตามเหตุปัจจัยโดยทั่วไปธรรมชาติความเก่าที่จะต้องปรากฎในองค์พระสมเด็จวัดระฆังจะต้องเป็นดังนี้
1.เนื้อของพระต้องไม่ตึงเรียบไปทั้งองค์ไม่ว่าจะด้านหน้าเเละด้านหลังขององค์พระ
2.ที่พื้นผิวของพระจะมีรูยับๆย่นๆเเละรูพรุนๆลึกลงไปถึงเนื้อพระทุกองค์
3.ด้านขอบข้างขององค์พระนั้นจะมีรอยปริเเตก เเยก ให้เห็น ไม่เรียบเนียน เเบบธรรมชาติ ไม่ไช่เเตกเเยก เเบบเลียนเเบบเเละทำให้เกิดผิดจากธรรมชาติ
อนึ่งในข้อพิจารณาดังกล่าวยังมีปัจจัยสำคัญที่ต้องเเนะนำเพิ่มเติมคือ หากเป็นรอยไม่เรียบไม่ตึงเเบบธรรมชาติกับรอยที่ไม่เรียบไม่ตึงจากการทำด้วยน้ำมือมนุษย์เป็นสิ่งที่ต้องพยายามศึกษาจดจำเเละสังเกตุให้ดีเพราะมีความเเตกต่างกันมาก ร่องรอยปริยุบเเยกยับย่น ไม่ว่าจะอยู่ที่พื้นผิวพระ ด้านหน้า หรือด้านหลังก็ตามล้วนเเต่จะต้องเกิดจากเป็นรอยอันเกิดมาจากข้างในด้วยเหตุผลคือ มวลสารทีเป็นอินทรีย์วัตถุยับตัวเหมือนยางไม้หมดความยืดหยุ่นก็จะหดตัวลงเล็กน้อยที่หดตัวพร้อมๆกันหลายจุดทั่วทั้งองค์พระจึงทำให้เกิดรอยปริยุบเเยกยับย่นลงไป เเต่หากเป็นธรรมชาติที่เกิดจากน้ำมือมนุษย์จะเป็นไปในลักษณะการเเกล้งทำจากข้างนอกไปสู่ข้างใน ซึ่งโดยจุดนี้เราจะสามารถมองออกได้คือลักษณะของการบานการยุบตัวนั้นบริเวณที่ผิวขององค์พระจะมีขนาดใหญ่กว่าร่องรอยของการยุบที่มองเห็น คิดง่ายๆเพื่อให้เห็นภาพ หากเราเอาไม้จิ้มลงไปในก้อนดินน้ำมันเเล้วเอาออก จะเห็นได้ว่าเมื่อมองลงไปในรูที่จิ้มเเล้วจะเห็นทันทีว่ารูข้างในนั้นเล็กมากๆเเต่รูด้านผิวบนๆของดินน้ำมันจะใหญ่ นี่เปรียบได้เหมือนกับการเเกล้งทำร่องรอยปริเเตกยับย่นจากข้างนอกไปสู่ข้างใน คือเเกล้งทำให้เก่านั่นเอง นี้ไม่รวมการเเกล้งให้เก่าทางวิทยาศาสตร์กับกับเนื้อพระเก่ามาตกเเต่ง เเกะที่ทำให้เหมือนพระสมเด็จวัดระฆัง เเละเเละเอาของเกจิรุ่นหลังจากสมเด็จโตมรณภาพเเล้วกับของสมเด็จวัดบางขุนพรหมมาโยกย้ายไปเป็นสมเด็จวัดระฆัง
ทั้งนี้ทั้งนั้นถ้าเป็นธรรมชาติเเท้ๆจะเป็นการยับย่นยุบจากข้างในออกมาสู่ข้างนอกโดยรูข้างในจะใหญ่กว่าที่พื่นผิวด้านนอกนั่นเอง สมมุติให้เห็นภาพได้ว่าเนื้อดินน้ำมันที่ผิวด้านบนมีรูของการยับย่นมีขนาดที่เล็กเเต่เมื่อเอากล้องส่องลงไปจะเห็นได้ว่า ในรูของดินน้ำมันนั้นจะมีขนาดใหญ่เพราะการยับย่นเริ่มจากข้างในออกมาสู่ข้างนอก รวมถึงผงวิเศษ 5 อย่าง ที่ท่านสร้างขึ้นมากว่าท่านจะมาทำเเต่ละครั้งจะได้ปริมาณน้อยมากเเต่ละครั้งถ้ามีในองค์ใดก็ถือว่าพิจารณาง่ายในองค์นั้นๆเพราะในผงวิเศษก็มีความธรรมชาติที่เกิดขึ้นอย่างธรรมชาตินั้นเอง ทั้งหมดนี่คือหนึ่งในวิธีการพิจารณาพระสมเด็จวัดระฆังที่นักนิยมพระเครื่องผู้ชำนาญการระดับปรมาจารย์ได้เเนะนำไว้
ภาพล่างเป็นเนื้อหาเลียนเเบบสมเด็จวัดระฆังกับเกจิรุ่นหลังสมเด็จโตหลังจากท่านมรณภาพไปเเล้ว
องค์นี้จะเป็นของเกจิยุคหลังที่สร้างเลียนเเบบสมเด็จวัดระฆังซึ่งเนื้อหาเเบบนิยมมาตกเเต่งโยกย้ายไปเป็นวัดระฆัง
ยังมีอีกเยอะครับสำหรับเนื้อหาเหล่านี้
1 ความคิดเห็น:
องค์ที่8ว่าผิดพิมพ์นะยังอยู่ไหมครับชอบแตกลายงาพื้นเสมอกัน ไม่ใช่เนื้อนิยม ไม่แพงขอเช่าครับเอาไว้ศึกษา 0907629226 บัณฑิต
แสดงความคิดเห็น
กรุณาใช้คำสุภาพเเละไม่ใช้คำที่ก่อให้เกิดความเสื่อมเสียเเก่ส่วนรวมเเละบุคคลอื่นขอบคุณครับ